นางสร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์ รองปลัดกระทรวงคมนาคม
ในฐานะประธานคณะกรรมการ (บอร์ด) การรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) กล่าวว่า
ที่ประชุมบอร์ด ร.ฟ.ท.เมื่อวันที่ 24 มีนาคมที่ผ่านมา
ได้อนุมัติให้ดาเนินโครงการรถไฟทางคู่ระยะเร่งด่วนพร้อมกัน 5 เส้นทาง คือ 1.สายมาบกะเบา-ชุมทางถนนจิระ ระยะทาง 132
กิโลเมตร 2.สายนครปฐม-หนองปลาดุก-หัวหิน
ระยะทาง 165 กิโลเมตร 3.สายลพบุรี-ปากนาโพ
ระยะทาง 118 กิโลเมตร 4.สายนครราชสีมา-ขอนแก่น ระยะทาง 185
กิโลเมตร และ 5.สายประจวบคีรีขันธ์ชุมพร
ระยะทาง 167 กิโลเมตร รวมระยะทาง 767 กิโลเมตร
เพื่อให้ทุกโครงการสามารถดาเนินการได้พร้อมกันทั้งหมด
ภายหลังล่าช้ากว่ากาหนดแล้วประมาณ 2 ปี
ทั้งนี้ การกาหนดให้เป็นโครงการเร่งด่วนเพื่อให้สามารถดาเนินงานตามขั้นตอนควบคู่ไปกับการพิจารณารายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) และให้สามารถประกวดราคาโครงการที่ผ่านอีไอเอได้ทันที โดยไม่จาเป็นต้องรอให้พิจารณาครบทุกเส้นทางก่อน โดยขั้นตอนหลังจากนี้ ร.ฟ.ท.จะต้องพิจารณารายละเอียดด้านต่างๆ รวมถึงประเด็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องก่อนนาเสนอกระทรวงคมนาคม และคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาอนุมัติต่อไป
นางสร้อยทิพย์กล่าวว่า สาหรับงบประมาณในการก่อสร้างรถไฟทางคู่ดังกล่าว จะเป็นส่วนหนึ่งของเงินกู้ 2 ล้านล้านบาทของรัฐบาล จากเดิมที่เป็นงบพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานที่ ครม.เคยอนุมัติให้ ร.ฟ.ท.ดาเนินการรวม 1.76 แสนล้านบาท โดยยืนยันว่าในอดีตสามารถดาเนินโครงการควบคู่กับอีไอเอได้ แต่ต่อมาได้เสนอ ครม.ให้ต้องผ่านอีไอเอก่อน ดังนั้น หากจะดาเนินโครงการเร่งด่วนจึงต้องเสนอ ครม.ให้พิจารณาอนุมัติ
อย่างไรก็ตาม การประกวดราคาสัญญา 3 งานระบบรถไฟฟ้าและเครื่องกล รวมตู้รถไฟฟ้า ช่วงบางซื่อ-รังสิต และช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน มูลค่า 28,899 ล้านบาท รถไฟชานเมืองสายสีแดง ยังไม่ได้นาเข้าสู่การพิจารณาของบอร์ด จากเดิมที่คาดว่าจะนาเข้าสู่การพิจารณาได้ เนื่องจากองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (ไจก้า) ในฐานะเจ้าของเงินกู้ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการอีกเล็กน้อย จึงต้องชี้แจงให้ไจก้ารับทราบก่อน
แหล่งข่าวจาก ร.ฟ.ท.กล่าวว่า ก่อนหน้านี้ ร.ฟ.ท.เตรียมเสนอบอร์ดพิจารณาการประราคา หลังจากได้ข้อสรุปว่ามีเอกชนที่ยื่นซองประกวดราคาสัญญา 3 จานวน 2 ราย ที่ผ่านการพิจารณาคุณสมบัติเบื้องต้น เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการเปิดซองด้านเทคนิค จากทั้งหมด 4 ราย โดยผู้ที่ผ่านการพิจารณา คือ 1.กิจการร่วมค้า MHSC Consortium ได้แก่ บริษัท MITSUBISHI Heavy Industrial Ltd, Hitachi, Sumitomo Corporation และ 2.กิจการร่วมค้า MIR Consortiumได้แก่ บริษัท Maru Beni coporation บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนท์ จากัด (มหาชน)
ทั้งนี้ การกาหนดให้เป็นโครงการเร่งด่วนเพื่อให้สามารถดาเนินงานตามขั้นตอนควบคู่ไปกับการพิจารณารายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) และให้สามารถประกวดราคาโครงการที่ผ่านอีไอเอได้ทันที โดยไม่จาเป็นต้องรอให้พิจารณาครบทุกเส้นทางก่อน โดยขั้นตอนหลังจากนี้ ร.ฟ.ท.จะต้องพิจารณารายละเอียดด้านต่างๆ รวมถึงประเด็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องก่อนนาเสนอกระทรวงคมนาคม และคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาอนุมัติต่อไป
นางสร้อยทิพย์กล่าวว่า สาหรับงบประมาณในการก่อสร้างรถไฟทางคู่ดังกล่าว จะเป็นส่วนหนึ่งของเงินกู้ 2 ล้านล้านบาทของรัฐบาล จากเดิมที่เป็นงบพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานที่ ครม.เคยอนุมัติให้ ร.ฟ.ท.ดาเนินการรวม 1.76 แสนล้านบาท โดยยืนยันว่าในอดีตสามารถดาเนินโครงการควบคู่กับอีไอเอได้ แต่ต่อมาได้เสนอ ครม.ให้ต้องผ่านอีไอเอก่อน ดังนั้น หากจะดาเนินโครงการเร่งด่วนจึงต้องเสนอ ครม.ให้พิจารณาอนุมัติ
อย่างไรก็ตาม การประกวดราคาสัญญา 3 งานระบบรถไฟฟ้าและเครื่องกล รวมตู้รถไฟฟ้า ช่วงบางซื่อ-รังสิต และช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน มูลค่า 28,899 ล้านบาท รถไฟชานเมืองสายสีแดง ยังไม่ได้นาเข้าสู่การพิจารณาของบอร์ด จากเดิมที่คาดว่าจะนาเข้าสู่การพิจารณาได้ เนื่องจากองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (ไจก้า) ในฐานะเจ้าของเงินกู้ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการอีกเล็กน้อย จึงต้องชี้แจงให้ไจก้ารับทราบก่อน
แหล่งข่าวจาก ร.ฟ.ท.กล่าวว่า ก่อนหน้านี้ ร.ฟ.ท.เตรียมเสนอบอร์ดพิจารณาการประราคา หลังจากได้ข้อสรุปว่ามีเอกชนที่ยื่นซองประกวดราคาสัญญา 3 จานวน 2 ราย ที่ผ่านการพิจารณาคุณสมบัติเบื้องต้น เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการเปิดซองด้านเทคนิค จากทั้งหมด 4 ราย โดยผู้ที่ผ่านการพิจารณา คือ 1.กิจการร่วมค้า MHSC Consortium ได้แก่ บริษัท MITSUBISHI Heavy Industrial Ltd, Hitachi, Sumitomo Corporation และ 2.กิจการร่วมค้า MIR Consortiumได้แก่ บริษัท Maru Beni coporation บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล็อปเมนท์ จากัด (มหาชน)
ที่มา : มติชน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น